กลยุทธ์ 6 พัฒนาระบบความปลอดภัยของผู้ป่วยตามนโยบาย SIMPLE

 SIMPLE


S1 : SSI Prevention  
I1 : Hand hygiene 
M1.2 : Improve the safety of High-Alert-Drug  
หลักที่ควรจำคือ
1.ใช้หลัก independent check บริหารยาด้วยกันทุกขั้นตอน
2.การติดsticker alert ที่order ใบMAR และติด sticker อาการที่ต้องmonitor ที่ใบMAR  ที่ER ติดในOPD CARD หน้าที่ใช้ยา และการสังเกตอาการแทรกซ้อนจากการให้ยาแต่ละชนิด
M2.1 : Look-Alike Sound-Alike medication names
M3 : Medication Reconciliation  ยาโรคประจำตัวเดิมที่สำคัญของผู้ป่วย เช่น Warfarin
M4 : Blood safety กระบานการตั้งแต่ขอเลือด รับเลือด ให้เลือด
P1 : Patients Identification  กระบวนการระบุตัวตนของผู้ป่วยโดย
1.ถามคำถามปลายเปิด การใช้ตัวบ่งชี้อย่างน้อย 2 ตัว (เช่น ชื่อและวันเกิด) เพื่อยืนยันตัวบุคคลเมื่อ
แรกรับ และก่อนทำหัตถการ  ตรวจสอบกับOPD CARD รูปหน้าจอ
2.การถือOPD CARD ไม่ให้ผู้ป่วยถือ OPD CARD มีกระบวนการทำอย่างไร  ในแต่ละจุดงาน
P2.1 : Effective Communication – SBAR 
P2.3 : Communication criteria result  LAB วิกฤต
1.Lab มีตารางค่าวิกฤต และการประกันเวลาให้ ถ้าเป็นLab ด่วนหรือLab ที่แพทย์ต้องการทราบให้โทรตรวจสอบกับห้องLab ถ้ายังไม่ได้ตามเวลา
2.Lab จะรายงานค่าวิกฤต ทุกรายการ อาจรายงานมาพร้อมกัน พยาบาลมีเกณฑ์รายงานแพทย์ทันโดยไม่ต้องรอLabตัวอื่นๆ  
3.ห้องLabจะแจ้งและทวนสอบผู้รับรายงานLab วิกฤต
P4.1 : Pressure ulcers
1.การป้องกันแผลกดทับ การประเมิน Braden score ความถี่ในการประเมิน 
2.การดูแลแบบสหวิชาชีพโดยเฉพาะโภชนากร
3.การใช้อุปกรณ์ในการช่วยป้องกัน เช่นที่นอนลม แผ่นรองรับปุ่มกระดูก 
4.การจัดท่าที่เหมาะสม ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวเองได้ควรได้รับการพลิกตัวทุก 2 ชั่วโมง โดยจัดทําตารางเวลาการพลิกตัวและบันทึกการปฏิบัติ
P4.2 : Patient falling  การป้องกันพลัดตกหกล้มในแต่ละหน่วยงาน
1.การใช้ Morse Fall Risk Assessment เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเปลนอน ผู้ป่วยalteration of conscious ผู้ป่วยเอะอะโวยวาย 
2.อุบัติการณ์เช่นถูพื้นผู้ป่วยลื่นล้ม มีวิธีการป้องกันอย่างไร
3.การใช้ทางเลือกเช่น การติดป้ายเฝ้าระวัง ในการดูแลผู้ป่วย  เช่น เตียงที่มีระดับต่ำ การฝึกออกกําลังและการเคลื่อน ย้ายที่ปลอดภัย อุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือน   ใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยเดิน
E1 : Response to the Deteriorating Patient
E2 : Sepsis
E3 : Acute Coronary Syndrome

การคำนวณ IBW และ Maintenance ในเคส DF


การคำนวณ Ideal body weight

Ideal body weight  คือ น้ำหนักที่ควรจะเป็น



สูตรการคำนวณ


                     **หมายเหตุ**

** ผู้ใหญ่  อายุ > 15 ปี  น้ำหนักมากกว่าหรือเท่ากับ 50 กก.  ให้ใช้ IBW เป็น 50  กก.
           
** ผู้ป่วยอ้วนให้ใช้  Ideal  body  weight  แทนน้ำหนักจริง









Maintenance Fluid (M)

Maintenance Fluid คือสารน้ำที่คงอยู่ในร่างกาย

    คิดปริมาตรน้ำจากสูตร  Holliday-Segar

ใช้ Ideal BW  ในการคำนวณ

สูตรการคำนวณ

น้ำหนัก 10 กก. แรก x 100 จะได้ 10 x 100 = 1000 cc/kg/day    ...(a)

       น้ำหนัก 10 กก. ต่อมา x 50 จะได้  10 x 50 = 500 cc/kg/day   ...(b)

น้ำหนักที่เหลือ..... x 20 = ........ cc/kg/day    (c)

Maintenance Fluid  คือ  (a) + (b) + (c)






Deficit water


ที่มาว่าทำไมในภาวะที่มีการขาดสารน้ำ (dehydration) การคำนวนสารน้ำที่ขาด(water deficit)
เช่น 5% deficit จึงต้องนำ 50 ml. ไป x น้ำหนักของผู้ป่วย
เนื่องจากว่า เป็นการประเมินปริมาณสารน้ำว่ามีการสูญเสียไป = 50 ml/kg ของน้ำหนักผู้ป่วย
[การสูญเสียสารน้ำ 1 L (1,000 ml) ทำให้น้ำหนักลดลง 1 kg (1,000 gm)]
ดังนั้น 5% ของ 1,000 ml ก็คือ 50 ml นั่นเอง

สูตรการคำนวณ

5% deficit =  50 x IBW








Example :  ผู้ป่วยอายุ15ปี น้ำหนัก 50 กิโลกรัม

 -  IBW = 50 กิโลกรัม

 -  Maintenance Fluid (M)  =  (10 X 100 ml) + (10 X 50 ml) + (30 X 20 ml) 
     = 1,000 + 500 + 600 
     = 2,100  ml/day 
     = 87 ml/hr 

 -  M+% Deficit  
      % Deficit  จะใช้เป็น 5% Deficit  = 50 x 50 ml = 2,500 ml

     M+% Deficit   =  2,100 + 2,500 
     = 4,600 ml/day 
     =  191.67 ml/hr 
                                                                     
      

Categories:

แนวทางการเปลี่ยนน้ำยาฆ่าเชื้อและน้ำยาล้างมือหลังเปิดใช้




น้ำยาฆ่าเชื้อ
อายุหลังเปิดใช้ (ตามหลัก IC)
Alcohol 70% หัวปั๊ม
1 เดือน
Alcohol 70%
1 สัปดาห์
Alcohol hand rub (สำเร็จรูป)
6 เดือน
น้ำเกลือ (IV)
24 ชั่วโมง
NSS for irrigation
24 ชั่วโมง
Sterile water for irrigation
24 ชั่วโมง
Povidine solution
6 เดือน
Povidine scrub
6 เดือน
Hydrogen peroxide
6 เดือน
Xylocain
1 เดือน
สบู่เหลวล้างมือทั่วไป
1 เดือน
ยาพ่น
1 เดือน
4 % Chlorhexidine
6 เดือน
4 % Chlorhexidine แบ่งบรรจุ
(ล้างมือเฉพาะ LR, OR)
7 วัน
น้ำยาทั่วไป
1 เดือน
ยาหยอดตา  ยาป้ายตา
1 เดือน
Insulin
เก็บในตู้เย็น 2-8 องศา ได้ 3 เดือน
เก็บที่อุณหภูมิห้องได้ 1 เดือน


Categories:

การล้างมือ


ประเภทการล้างมือ


ชนิด/ประเภท
ระยะเวลา
ตัวอย่างกิจกรรม
1.ธรรมดา (ทั่วไป)
20 วินาที
- ก่อน-หลังปรุงอาหาร รับประทานอาหาร
- ก่อนหลังเข้าห้องน้ำ
2.อนามัย (หัตถการเล็ก)
30 วินาที
- ก่อน-หลัง ให้สารน้ำ
- ก่อน-หลังใส่สายสวนปัสสาวะ
- ก่อน-หลังล้างแผล
- ก่อน-หลังวัด V/S
- ก่อนจัดเตรียม set ต่างๆ
- ก่อนเตรียมยาฉีด จัดยากิน
-หลังสัมผัสสารคัดหลั่งหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย
3.Alcohol hand rub
30 วินาที
- ก่อนเช็ดตา-สะดือทารก
-ก่อนจัดเตรียม set ต่างๆ
- ก่อนเตรียมยาฉีด จัดยากิน
-หลังสัมผัสสารคัดหลั่งหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย

4.หัตถการ
5 นาที
-ก่อนการผ่าตัด ก่อนทำคลอด








The"My 5 moment for hand hygiene" Approach
แนวทาง "My 5 moment" สำหรับสุขภาพอนามัยของมือ


(1) ก่อนสัมผัสผู้ป่วย (Before touching)

(2) ก่อนทำหัตถการกับผู้ป่วย (Before Clean / Aseptic Procedure)

(3) หลังสัมผัสสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย (After Body Fluid Exposure risk)

(4) หลังสัมผัสคนไข้ (After Touching a Patient)

(5) หลังสัมผัสสิ่งที่ล้อมรอบผู้ป่วย (After touching Patient Surrounding)









การล้างมือ (Handwashing) อย่างมีประสิทธิภาพ 6 ขั้นตอน


















Categories:

statistics

ขับเคลื่อนโดย Blogger.

Recent